เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
รณรงค์การเลือกใช้สินค้าปลอดสารพิษเพื่อลูกเด็กไทยแข็งแรง

วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552




เราสามารถแบ่งพลาสติกออกได้เป็น ๒ พวกใหญ่ ๆ คือ

1. เทอร์มอเซตติงพลาสติก (thermosetting plastic) เป็น พลาสติกชนิดที่จะแข็งตัวคงรูปอยู่ได้ โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นโดยอาศัยความร้อนและความกดดัน ภายหลังปฏิกิริยาเคมีมันก็จะแข็งตัว และเราจะไม่สามารถเปลี่ยนรูปของมันโดยไม่เปลี่ยนคุณสมบัติของมันได้กล่าวคือ เมื่อได้รับความร้อนมาก ๆ มันจะสลายตัวเสียรูปไป

2. เทอร์มอพลาสติกพลาสติก (thermoplastic plastic) เป็น พลาสติกที่แข็งตัวโดยไม่อาศัยปฏิกิริยาทางเคมี แต่อาศัยคุณสมบัติทางกายภาพ เมื่อทำพลาสติกชนิดนี้ให้ร้อนขึ้นแล้วเทลงในเบ้าหรือแบบมันก็จะเปลี่ยนรูป ร่างไปตามแบบนั้น และเมื่อเย็นลงก็จะแข็งตัวคงรูปอยู่ได้ และเมื่อเป็นรูปแล้วเราสามารถที่จะหลอมและเปลี่ยนรูปเป็นอย่างอื่นได้อีก เพราะคุณสมบัติทางเคมีของมันยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง

กลุ่มพลาสติก (Plastic Resins) ประกอบด้วย

o พลาสติกที่ใช้งานทั่วไป (Commodity Plastics) เป็น พลาสติกที่มีคุณสมบัติแปรรูปได้หลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์มากมาย มีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับพลาสติกสำหรับงานวิศวกรรม มีปริมาณความต้องการใช้สูง พลาสติกชนิดนี้ได้แก่ โพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (Low Density Polyethylene - LDPE) โพลีเอทิลีน ความหนาแน่นต่ำเชิงเส้น (Linear Low Density Polyethylene -LLDPE) โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene - HDPE) โพลีไวนิลคลอไรด์ (Poly Vinyl Chloride - PVC) โพลีโพรพิลีน (PP) และโพลีสไตรีน (PS) เป็นต้น

o พลาสติกสำหรับงานวิศวกรรม (Engineering Plastics) เป็น พลาสติกที่ใช้ในงานวิศวกรรมที่ต้องการคุณสมบัติพิเศษ สามารถใช้ทดแทนโลหะในงานวิศวกรรม เช่น เฟือง ชิ้นส่วนรถยนต์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ตัวอย่างพลาสติกประเภทนี้ได้แก่ ไนลอน (Nylon) โพลีคาร์บอเนต (PC) โพลีอะซีทัล (Polyacetal) อะคริโลไนทริล-บิวทาไดอีน-สไตรีน (ABS) และโพลีเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET) เป็นต้น

o พลาสติกที่มีคุณสมบัติพิเศษ (High Performance Plastics) เป็น พลาสติกที่มีคุณสมบัติพิเศษสำหรับใช้งานเฉพาะทาง เช่น ทนความร้อน ทนกรด ทนด่าง ลื่นไม่ติดง่าย เป็นต้น พลาสติกประเภทนี้มีราคาสูงมากตามคุณสมบัติพิเศษแต่ละชนิด ตัวอย่างพลาสติกประเภทนี้ได้แก่ โพลีเตตราฟลูออโรเอทิลีน (Polytetrafluoroethylene หรือ Teflon) โพลีอีเทอร์อีเทอร์คีโตน (Poly Ether Ether Ketone - PEEK) โพลีอีเทอร์ซัลโฟน (Polyethersulfone - PES) พลาสติก เหล่านี้ยังมีปริมาณการใช้ไม่มากนักและยังไม่มีการผลิตในประเทศไทยเลย เนื่องจากต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิตและเทคโนโลยียังไม่เป็นที่แพร่ หลายทั่วไป


การแยกชนิดของพลาสติก
พลาสติกแต่ละชนิดมีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นต่างกัน จึงมีการใช้สัญลักษณ์เพื่อช่วยในการเลือกพลาสติกชนิดต่างๆ และช่วยในการแยกพลาสติกในกระบวนการรีไซเคิล ซึ่งเราสามารถแยกชนิดของพลาสติกออกเป็น 7 กลุ่มดังนี้

พลาสติกกลุ่มที่ 1 คือ เพท (PETE) สัญลักษณ์ คือ 1 เป็นพลาสติกที่ส่วนใหญ่มีความใส มองทะลุได้ มีความแข็งแรงทนทานและเหนียว ป้องกันการผ่านของก๊าซได้ดี มีจุดหลอมเหลว 250-260 องศาเซลเซียส มีความหนาแน่น 1.38-1.39 นิยมนำมาใช้ทำบรรจุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ขวดน้ำดื่ม ขวดน้ำปลา ขวดน้ำมันพืช เป็นต้น
พลาสติกกลุ่มที่ 2 คือ HDPE สัญลักษณ์ คือ 2 เป็นพลาสติกที่มีความหนาแน่นสูง ค่อนข้างนิ่ม มีความเหนียวไม่แตกง่าย มีจุดหลอมเหลว 130 องศาเซลเซียส มีความหนาแน่น 0.95-0.92 นิยมนำมาใช้ทำบรรจุภัณฑ์ทำความสะอาด เช่น แชมพู ถุงร้อนชนิดขุ่น ขวดนม เป็นต้น ปัจจุบันพบว่ามีสัดส่วนการปล่อยสาร BPA ในปริมาณที่สามารถทำให้สัตว์ในห้องทดลองเป็นมะเร็งได้
พลาสติกกลุ่มที่ 3 คือ พีวีซี (PVC) สัญลักษณ์ คือ 3 เป็นพลาสติกที่มีลักษณะทั้งแข็งและนิ่ม สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบ มีสีสันสวยงาม มีจุดหลอมเหลว 75-90 องศาเซลเซียส เป็นพลาสติกที่นิยมใช้มาก เช่น ท่อพีวีซี สายยาง แผ่นฟิล์มห่ออาหาร เป็นต้น
พลาสติกกลุ่มที่ 4 คือ LDPE สัญลักษณ์คือ 4 เป็นพลาสติกที่มีความหนาแน่นต่ำ มีความนิ่มกว่า HDPE มี ความเหนียว ยืดตัวได้ในระดับหนึ่ง ส่วนใหญ่ใสมองเห็นได้ จุดหลอมเหลว 110 องศาเซลเซียส มีความหนาแน่น 0.92-0.94 นิยมนำมาใช้ทำแผ่นฟิล์ม ห่ออาหารและห่อของ
พลาสติกกลุ่มที่ 5 คือ pp สัญลักษณ์ คือ 5 เป็นพลาสติกที่ส่วนใหญ่มีความหนาแน่นค่อนข้างต่ำ มีความแข็งและเหนียว คงรูปดี ทนต่อความร้อน และสารเคมี มีจุดหลอมเหลว 160-170 องศาเซลเซียส ความหนาน่น 0.90-0.91 นิยมนำมาใช้ทำบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารในครัวเรือน เช่น ถุงร้อนชนิดใส จาม ชาม อุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด
พลาสติกกลุ่มที่ 6 คือ PS สัญลักษณ์ คือ 6 เป็นพลาสติกที่มีความใส แข็งแต่เปราะแตกง่าย สามารถทำเป็นโฟมได้ มีจุดหลอมเหลว 70-115 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 0.90-0.91 นิยมนำมาใช้ทำบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่องไอศกรีม กล่องโฟม ฯลฯ
พลาสติกกลุ่มที่ 7 คือ อื่นๆ เป็นพลาสติกที่นอกเหนือจากพลาสติกทั้ง 6 กลุ่ม พบมากมายหลากหลายรูปแบบ

พลาสติกชนิดพิเศษ PES พลาสติกที่มีคุณสมบัติพิเศษ (High Performance Plastics) เป็น พลาสติกที่มีคุณสมบัติพิเศษสำหรับใช้งานเฉพาะทาง เช่น ทางการแพทย์ และอุตสาหกรรม ทนความร้อนสูงถึง 180 องศา ทนกรด ทนด่าง ลื่นไม่ติดง่าย เป็นต้น พลาสติกประเภทนี้มีราคาสูงมากตามคุณสมบัติที่ทนทานพิเศษนอกจากนี้ยังมีอีกหลายชนิด

รวบรวมข้อมูลจาก :

www.bambigarden.com

http://www.tps.ac.th/~narin/basicchem/index_files/page0011.htm

http://www.ptit.org/is-petrochemical-preview.php?weekly_id=12

วันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552


PLASTICS GUIDE

#1 - PET or PETE: polyethylene terephthalate is used in many soft drink, water, and juice bottles. It's easily recycled, and accepted by most curbside municipal programs and just about all plastic recycling centers.

#2 - HDPE: high-density polyethylene is used in milk jugs, detergent and shampoo bottles. It is widely accepted by most curbside municipal programs and recycling centers.

#3 - PVC: Vinyl or polyvinyl chloride is a bad, bad plastic. Soft PVC often contains and can leach toxic phthalates, and can also off-gas chemicals into the air. It's used in some cling wraps (yikes!), many children's toys, fashion accessories, shower curtains, and detergent and spray bottles. To top it off, PVC isn't recyclable, either.

#4 - LDPE: low-density polyethylene is used most in plastic shopping bags, some cling wraps, some baby bottles and reusable drink & food containers. It is recyclable at most recycling centers (and many grocery stores take the shopping bags) but generally not in curbside programs.

#5 - PP: polypropylene can be found in some baby bottles, lots of yogurt and deli takeout containers, and many reusable food and drink containers (you know, the Tupperware- and Rubbermaid-types). It is recyclable in some curbside programs and most recycling centers.

#6 - PS: polystyrene is used in takeout food containers, egg containers, and some plastic cutlery, among other things. It has been found to leach styrene--a neurotoxin and possible human carcinogen--and has been banned in cities like Portland, Ore. and San Francisco. Still, it persists and is not often recyclable in curbside programs, though some recycling centers will take it.

#7 - Everything else, and this is where the waters get a bit murky. First, and perhaps most notably, #7 includes PC, or polycarbonate, which has been making headlines lately because it has been found to leach bisphenol A (BPA), a hormone disruptor that mimics estrogen.
But that's just the tip of the #7 iceberg; though you're less likely to see them in the grocery store than some of the others, the burgeoning crop of bioplastics (made from plant-based material rather than the usual petroleum base for plastic) also falls under this umbrella, for now, at least. Most common of these is PLA, or polyactide, which is most commonly made with corn, these days. It isn't easily recycled, though it can be composted in industrial composting operations--your kitchen composter most likely doesn't create enough heat to help it break down.

* 40 billion pounds of PET waste will be added to our landfills within only a decade.

* Americans buy about 31 billion plastic beverage containers every year.

source : www.kidskonserve.com